You have no items in your shopping cart.

Access 2003-2007 QuickStart Tutorials ชุดที่ 1

Access 2003-2007 QuickStart Tutorials ชุดที่ 1

Product code: I-PRO-36
ISBN:
สื่อการสอน Access 2003-2007 เจาะลึกทุกเนื้อหา มากที่สุดในประเทศไทย โดย อ.ธงชัย พยุงภร

Availability: In stock

Regular Price: 240.00 THB

Special Price 216.00 THB

Description

หากเราจะพูดถึงเครื่องมือที่จะช่วยจัดการงานทางด้านฐานข้อมูลแล้ว ผู้เขียนเชื่อว่า Microsoft Access จะเป็นเครื่องมืออันดับต้นๆ ที่ผู้ใช้ระดับทั่วไปนึกถึง Microsoft Access จะช่วยให้คุณสามารถสร้างโปรแกรม ประยุกต์ และมีการติดตามที่สวยงาม สามารถใช้งานได้จริง มีความสะดวกเร็วในการใช้งาน โดยไม่จำเป็นต้อง มีความรู้เชิงลึกเกี่ยวกับฐานข้อมูล และนอกจากนั้นคุณยังสามารถเรียนรู้เพิ่มเริ่มต้นใช้งานได้อย่างรวดเร็ว คุณยังสามารถสร้าง และปรับโปรแกรมประยุกต์และรายงานให้เปลี่ยนไปตามความต้องการทางธุรกิจได้

สื่อการสอนชุด “Access 2003-2007 QuickStart Tutorials” ที่ทางบริษัทเอ็มไอเอส ซอฟท์เทค จำกัด ร่วมกับ อ.ธงชัย พยุงภร ผลิตออกมานี้ เหมาะ สำหรับผู้ใช้ทุกระดับ ตั้งแต่ระดับเบื้องต้นไปจนถึงระดับมืออาชีพ เนื่องจากมีเนื้อหาที่เจาะลึกอย่างละเอียด ซึ่งเป็นอีกหนึ่งความภูมิใจ ที่ทีมงานของเราพร้อมที่จะนำเสนอให้กับท่านได้มีเก็บเอาไว้เพื่อใช้ในการศึกษา ของคุณต่อไปได้เป็นอย่างดี

  • จัดการกับ Tables และ Linked Tables เมื่อต้องการเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลอื่น
  • Query ข้อมูลชั้นสูง เพื่อสรุปข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ และ CrossTab Query
  • สร้าง Forms และ SubForm เพื่อทำหน้าจอ Input ข้อมูลอย่างละเอียด
  • เทคนิคต่าง ๆ ในการทำ Report-SubReport และกราฟ
  • เขียน Macro เพื่อทำงานอัตโนมัติภายใน Forms ต่าง ๆ
  • รูปแบบที่แตกต่างออกไปใน Access 2007 เมื่อเทียบกับ Access 2003

เนื้อหาใน CD แผ่นที่ 1

1. เตรียมเครื่องและติดตั้งชุด Microsoft Office และการสร้างฐานข้อมูลใหม่

  • จัดเตรียมเครื่อง
  • ติดตั้งชุด Microsoft Access
  • ผู้สอน อ.ธงชัย พยุงภร
  • การสร้างฐานข้อมูลใหม่
  • การนำไฟล์ตัวอย่างจาก CD-ROM ไปศึกษา และการกำหนดคุณสมบัติ (Properties)

2. ความหมายของนามสกุล ldb และ mdb และการเปิดฐานข้อมูลแบบต่าง ๆ

  • ความหมายของนามสกุล ldb และ mdb ของ Microsoft Access
  • การเปิดฐานข้อมูลแบบต่าง ๆ ได้แก่ Open, Open ReadOnly, Exclusive และ Exclusive Readonly

3. การเปลี่ยนภาษาของเมนู และ Macro Security

  • ถ้าต้องการเปลี่ยนภาษาของเมนูให้เป็นภาษาไทย ต้องติดตั้ง Microsoft Office Language Pack ที่เป็นภาษาไทยก่อน
  • คำเตือน และการแก้ไขของ Macro Security

4. ความหมายของ Objects ต่าง ๆ ใน Microsoft Access ได้แก่ Tables, Queries, Forms, Reports, Pages, Macro และ Modules

  • ความหมายของ Objects ต่าง ๆ ใน Microsoft Access ได้แก่ Tables, Queries, Forms, Reports, Pages, Macro และ Modules

5. เปรียบเทียบ Access กับ Excel การสร้าง Table Categories และการสร้าง Primary Key

  • เปรียบเทียบการเก็บฐานข้อมูลใน Access และ Excel
  • การสร้าง Table ใหม่ชื่อ Categories
  • ความหมายของ Field ประเภท Number : Byte, Integer, Long Integer และประเภท Text
  • การสร้างและความหมายของ Primary Key

6. การใส่ Description ให้กับ Table และการป้อนข้อมูลใน Table และการไป Records ต่าง ๆ ของ Table

  • การใส่ Description หรือคำอธิบายให้กับ Table
  • การ View ในรูปแบบต่าง ๆ : Large Icons, Small Icons, List, Details
  • การป้อนข้อมูลใน Table
  • การเปลี่ยน Font ในการป้อนข้อมูล
  • การไปยังเรคคอร์ดต่าง ๆ โดยใช้ Record Navigation
  • การทดลองป้อนข้อมูลซ้ำ และคำเตือนหลังจากที่ได้กำหนด Primary Key ไว้แล้ว

7. การกำหนด Layout ของ Tableในการเรียงลำดับ Fields ต่าง ๆ และการเรียงข้อมูลใน Table

  • การลาก Fields ไปยังตำแหน่งต่าง ๆ
  • Access จะเก็บ Layout ในการเก็บลำดับ Field และความกว้างของแต่ละ Field ไว้
  • การจัดเรียงข้อมูลตาม Field ที่ต้องการจากน้อยไปมาก และจากมากไปน้อย

8. หน้าจอส่วน Design และ View ของ Table และความหมายของ Caption และ Description ของ Fields

  • Access จะจัดเก็บลำดับในการจัดเรียงครั้งสุดท้ายไว้เสมอ
  • การเปลี่ยนหน้าจอไปยังหน้า Design และ View ของ Table
  • การใส่ Description ของ Field จะปรากฎที่ Statusbar ของ Access
  • ควรตั้งชื่อ Field ให้เป็นภาษาอังกฤษ และ Caption สามารถกำหนดเป็นภาษาไทยได้

9. ความหมายในการสร้าง Primary Key และ Indexes แบบต่าง ๆ

  • การ switch หน้าจอแบบ Design View และ DataSheet View แบบต่าง ๆ
  • การกำหนดให้ข้อมูลชื่อกลุ่มสินค้าไม่สามารถซ้ำได้
  • วิธีเลือก field ในการสร้าง PrimaryKey
  • การสร้าง Index แบบต่าง ๆ และเหตุผลในการสร้าง Index เมื่อต้องการค้นข้อมูล หรือ จัดเรียงข้อมูล
  • ปุ่ม Indexes บน ToolBar
  • ความหมายของ Properties ของ Indexes
  •  ตรวจสอบข้อมูลที่ซ้ำว่าไม่สามารถป้อนได้ เมื่อมีการสร้าง Index แบบ No Duplicate

10. วิธีกำหนดให้ DataSheet ที่เปิดอยู่ใน TaskBar ของ Windows

  • การกำหนดให้ DataSheet ที่เปิดอยู่ใน TaskBar ของ Windows หรือไม่
  • การ switch ระหว่างหน้าจอ Database และ DataSheet View

11. การตั้งชื่อ Field และกำหนด DefaultValue ให้กับฟิลด์ประเภทวันที่ (DateTime)

  • การกำหนด Default Value ให้กับ Field
  • Access สามารถตั้งชื่อ Field ที่มีเว้นวรรคได้
  • ความหมายของ Field ประเภท DateTime, Number และ Text
  • การใช้ Now() เพื่อใส่วันที่และเวลาปัจจุบัน
  • การ Copy และ Paste ในกรณีที่ต้องการ Copy ข้อมูลจาก Record หนึ่งไปยังอีก Record หนึ่ง

12. การกำหนดให้ Field ชื่อกลุ่มสินค้า จำเป็นต้องป้อนข้อมูล โดยกำหนด Required และ Allow Zero Length

  • การกำหนดให้บาง field จำเป็นต้องป้อนข้อมูล
  • ความหมายของ Required 
  • ความหมายของ Allow Zero Length
  • การ switch ค่าระหว่าง Yes และ No โดยการ Double Click

13. การใช้ Table Wizard และสร้างตาราง Products

  • การใช้ Table Wizard
  • ออกแบบ Table Products และความหมายของ Field ที่สร้าง
  • กำหนด Properties ต่าง ๆ ของ Fields และ Indexes

14. สร้าง Field CategoryID ใน Table Products เพื่อเชื่อมโยงกับ Table Category และการสร้าง Lookup ใน DataSheet

  • สร้าง Field CategoryID ใน Table Products เพื่อเชื่อมโยงกับ Table Categories ใน Table Categories
  • การสร้าง Lookup ให้เป็น Combo Box ใน Field ของ CategoryID ของ Table Products
  • การกำหนด Property ของ ComboBox : ColumnWidths, ListWidth, BoundColumn, ColumnCount

15. การกำหนดรายละเอียดของ Lookup Table และการใช้ Query Builder สำหรับ RowSource ของ Combo Box

  • ความหมายของ Limit to List
  • การกำหนด Row Source และการใช้ Query Builder เพื่อให้เรียงข้อมูลตามที่ต้องการ
  • เปลี่ยน BoundColumn และ ColumnWidths เพื่อกำหนด BoundColumn ให้ถูกต้อง
  • ความหมายของ List Rows ของ ComboBox

16. การดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลหนึ่งมายังอีกฐานข้อมูลหนึ่ง โดยการ Import และการเปลี่ยนชื่อ Table

  • การ Import Table จากฐานข้อมูลหนึ่งมายังอีกฐานข้อมูลหนึ่ง
  • การเปลี่ยนชื่อ Table

17. การสร้างและลบ Relationships ระหว่าง Table Categories2 และ Products2

  • การสร้างและการลบ Relationships ระหว่าง Tables
  • การลาก field เพื่อสร้าง Relation ระหว่าง Tables

18. สร้าง Relations อีกชุด และการ Add Tables ในส่วนของ Relationships และ DrillDown ใน Access

  • สร้างความสัมพันธ์ระหว่าง Tables อีกชุด
  • ประโยชน์ของการสร้าง Relations
  • Drill Down ของ Datasheet ใน Access

19. ความหมายของ Link Tables ซึ่งแตกต่างจากการ Import Tables

  • ความหมายของ Link Tables
  • ข้อแตกต่างจากการ Import Tables
  • ข้อดีของ Link Tables ที่ดีกว่า Import Tables

20. การใช้ Linked Table Manager เมื่อมีการแก้ไขชื่อ Database ต้นทาง หรือย้าย Directory

  • การเปลี่ยน Path ของ Database ของ Linked Table
  • การใช้ Linked Table Manager

21. การแก้ไขโครงสร้างของ Linked Table ต้องแก้ที่ Table ของ Database ต้นทาง และสร้าง Table ใหม่

  • Linked Table ไม่สามารถแก้ไขได้ จะแก้ไขต้องแก้ไขที่ Table ของ Database ต้นทาง
  • สร้าง Table Employee
  • สร้าง Field ประเภท AutoNumber ซึ่งเป็น Long Integer
  • Default Value ที่เป็น Date() ให้เก็บวันที่เท่านั้น ไม่ต้องเก็บเวลา
  • เหตุผลในกรณีที่เลือก Field ของ ZipCode เป็นประเภท Text

22. การใส่กฎเกณฑ์ให้กับ Field ที่ Validation Rule และ ValidateText

  • การใส่กฎเกณฑ์ของ Field ที่ Validation Rule และ ValidationText ของ Field
  • การใส่กฎให้วันที่ว่าจ้างต้องมากกว่าวันที่ 1 มกราคม 2000
  • การใส่กฎให้กับราคาทุนของสินค้าต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 0 บาท
  • การออกแบบ Field สำหรับ Field VAT ว่าควรเลือก Field ประเภทไหน

23. ปัญหาของ Field ประเภทวันที่ และการปรับเปลี่ยนที่ Regional Settings ที่ Control Panel

  • ระวังการป้อนข้อมูลประเภทวันที่
  • กำหนด Format ของวันที่และ Currency ใน Regional Setting
  • ตรวจสอบ Validation ที่ได้ทำไว้แล้วของ Field ประเภทวันที่
  • กำหนด Format และรูปแบบ Format ของวันที่ใน Regional Setting
  • การกำหนดปีเป็นพุทธศักราช และคริสตศักราช

24. การกำหนด Format ของ Field ประเภทวันที่ และตัวเลขในแบบต่าง ๆ

  • ปรับระบบ Regional Setting ให้เป็นภาษาอังกฤษ ให้กลับสู่สภาพเดิม และปรับ Currency ให้เป็น ฿ เหมือนเดิม
  • Format ของข้อมูลประเภทวันที่ และความหมายของ ddd, dddd, mmm, mmmm
  • Format ของข้อมูลประเภทตัวเลข ให้มี comma คั่นที่หลักพันและหลักล้าน
  • Format ย่อยของตัวเลข ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ บวก;ลบ;ศูนย์;Null

25. รูปแบบของ Format ของตัวเลข, ข้อแตกต่างของ Format ประเภท # และ 0 และ Multiple Clipboard

  •  รูปแบบ Format ของตัวเลข
  •  การใช้ Multiple Clipboard
  •  ข้อแตกต่างระหว่าง Format ของ # และ 0 ถ้าใช้ # หมายถึง ไม่แสดง 0 ถ้าข้างหน้าเป็น 0 หรือ ข้างหลังเป็น 0 หมด
  •  ถ้าใช้ 0 บังคับแสดง 0 ทุกตำแหน่งที่ระบุ

26. การบังคับให้ใส่ตัวเลขเท่านั้น ที่ ZipCode โดยกำหนดที่ InputMask

  •  การสร้าง InputMask ของ ZipCode
  •  รูปแบบและโครงสร้างของ InputMask
  •  สัญลักษณ์ของตัวอักษร เมื่อไม่ได้ป้อนข้อมูล
  •  ความหมายของตัวเลข 0 ใน InputMask หมายถึงให้พิมพ์ตัวเลขได้เท่านั้น ห้ามป้อนตัวอักษร และห้ามป้อนเว้นวรรค

27. การใส่ InputMask ของ MobilePhone และการใส่ Mask เพื่อให้ใส่ - ในฐานข้อมูลหรือไม่

  •  การใช้ InputMask กับ Field MobilePhone
  •  การใส่ - ในฐานข้อมูลหรือไม่ เมื่อมีการใช้ Mask

28. สัญลักษณ์ต่าง ๆ ของ InputMask และ InputMask ของ Password ในกรณีที่ป้อนแล้วต้องการให้ขึ้น *

  •  ส่วนต่าง ๆ ที่สำคัญและความหมายของ InputMask
  •  สัญลักษณ์ของ InputMask ต่าง เช่น 0, 9, #, a, A, L,? เป็นต้น
  •  การรับข้อมูลที่เป็น Password เมื่อมีการป้อนข้อมูลให้ขึ้นสัญลักษณ์ *

29. การกำหนด Format ให้มีสีสันต่างกัน และการปรับให้เป็นตัวอักษรตัวใหญ่ หรือตัวเล็กทั้งหมด

  •  การกำหนด Format ให้มีสีสันต่าง ๆ เช่น ถ้าเป็นบวกให้เป็นสีน้ำเงิน ถ้าติดลบให้เป็นสีแดง
  •  การปรับตัวอักษรให้เป็นตัวใหญ่ทั้งหมด หรือตัวเล็กทั้งหมด

30. การ Copy Field, Copy Record ใน Access และคุณสมบัติของ AutoNumber Field

  •  การ Copy Field ให้เหมือนเรคคอร์ดก่อนหน้า โดยการกด Ctrl คู่กับ Single Quote
  •  การ Copy Record
  •  คุณสมบัติของ AutoNumber Field ที่ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้

31. แก้ไขข้อมูล LookUp Table ของ Products2 ให้ถูกต้อง และการแก้ไข Table ในส่วนของ SQL View ของ Query Builder

  •  การปรับ Lookup Table ของ Products2 ซึ่งเป็น Table ที่ Imported เข้ามาให้ถูกต้อง
  •  SQL View ของ Query Builder
  •  โครงสร้างของ SQL Statement และการเปลี่ยนชื่อ Table ใน SQL View

32. การใส่ข้อมูลภาพลงใน Field OLE Object

  •  Field ข้อมูลประเภท OleObject
  •  การใส่ข้อมูลภาพใน Field ประเภท OLE Object
  •  การแก้ไขภาพที่ใส่ไว้ในฐานข้อมูลอยู่แล้ว
  •  การใส่ภาพแบบ Link และ Embed

33. สร้าง Field ประเภท Hyperlink ประโยชน์และการแก้ไข

  •  สร้าง Field ประเภท Hyperlink
  •  การแก้ไข Field ประเภท Hyperlink ทำได้ 2 วิธี
  •  ประโยชน์ของ Field Hyperlink
  •  โครงสร้างการเก็บข้อมูลของ Field Hyperlink

34. รู้จักกับ Field ประเภท Memo และ Yes/No และการจัด Format ของ Field Yes/No เอง

  •  สร้าง Field ประเภท Memo สำหรับในกรณีที่มีข้อมูลมาก ๆ มากกว่า 255 ตัว
  •  ข้อจำกัดของ Memo
  •  การขึ้นบรรทัดใหม่ใน Memo ให้กด Ctrl + Enter
  •  สร้าง Field ประเภท Yes/No หรือ Boolean
  •  การจัด Format ประเภท Boolean เอง ให้เป็นใช่/ไม่ และใส่สีให้แตกต่างกัน
  •  ข้อมูลจริง ๆ ที่เก็บของ Field Yes/No จะเป็น -1 และ 0
  •  การทำให้ Field Yes/No ไม่ใช่ CheckBox

35. การใช้ Field ประเภท Lookup Wizard

  •  การใช้ Field ประเภท Lookup Wizard
  •  การกำหนดค่าให้ผู้ใช้เลือก
  •  คล้ายกับ Lookup ก่อนหน้าที่ได้สร้างไว้แล้ว

36. การใส่กฎให้กับระดับ Table ที่ Table Properties

  •  รู้จักกับ Table Properties
  •  การใส่กฎระดับ Table เมื่อต้องการเปรียบเทียบระหว่าง Fields โดยใส่ ValidataionRule และ ValidationText ระดับ Table
  •  การตรวจสอบกฎจะตรวจสอบเมื่อเราจะเปลี่ยนเรคคอร์ด
  •  ข้อควรระวังก่อนการใส่กฎ ต้องตรวจสอบข้อมูลให้ถูกต้องเสียก่อน

37. การใช้ Order By และ Filter ในส่วนของ Table Properties และการ Apply Filter

  •  การใช้ Order By ในส่วนของ Table Properties
  •  ใช้ desc เพื่อกำหนดให้เรียงจากมากไปน้อย
  •  การใส่ Filter เพื่อดึงข้อมูลบางส่วน และการใช้ Apply Filter และ Remove Filter
  •  สรุปเกี่ยวกับ CD-ROM แผ่นนี้ซึ่งเน้นเกี่ยวกับการออกแบบ Table และรู้จักกับ Field และคุณสมบัติของ Field แบบต่าง ๆ

เนื้อหาใน CD แผ่นที่ 2

1. เตรียมข้อมูลและจัดการ Link Tables จาก Databases อื่นมา เพื่อศึกษาเรื่อง Query

  •  สร้าง Link Tables จากหลาย ๆ Databases มาที่ Databases ตัวเดียวกัน
  •  เตรียมข้อมูลและไฟล์เพื่อศึกษาเรื่อง Query

2. การใช้ Filter by Selection, Filter by Form และ Remove Filter เพื่อเลือกข้อมูลตัวเลขตามที่ต้องการ

  •  การใช้ Filter by Selection, Filter by Form และ Remove Filter
  •  การใช้ Filter Excluding Selection
  •  ข้อมูลการ Filter จะเก็บอยู่ในส่วนของ Table Properties
  •  การ Filter ข้อมูลส่วนที่เป็นตัวเลข และการใช้ between…and…

3. การ Filter ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร (String) ตามชื่อสินค้า และการใช้ Like และสัญลักษณ์ต่าง ๆ

  •  การ Filter ข้อมูลที่เป็น string ต้องคลุมด้วย single quote หรือ double quote
  •  การใช้ Like และการใช้ *, ! และวงเล็บก้ามปู เพื่อ Filter ข้อมูลที่ต้องการ
  •  การ Filter ข้อมูลตัวแรกที่เป็นช่วงของ string
  •  ตัวอักษรตัวใหญ่ ตัวเล็กเหมือนกัน

4. การ Freeze Column และ UnFreeze All Columns เพื่อ Lock บาง Columns ไว้ และการ Filter แบบหลายเงื่อนไข

  •  การ Freeze Columns เพื่อ Lock บาง Columns ไว้
  •  การยกเลิกการ Freeze Columns
  •  การ Filter แบบหลายเงื่อนไขพร้อมกัน

5. การ Filter ข้อมูลที่ต้องสั่งซื้อสินค้า โดยเปรียบเทียบระหว่าง Fields และการอ้างชื่อ Field

  •  การ Filter โดยการเปรียบเทียบระหว่าง Fields
  •  สัญลักษณ์ในการอ้างชื่อ Field ให้ใช้วงเล็บก้ามปูคลุม
  •  ดึงข้อมูลสินค้าที่มีจำนวนสินค้าน้อยกว่า Minimum Stock

6. การ Filter ข้อมูลประเภทวันที่ การใช้สัญลักษณ์ # และการใช้ Function Month และ Year

  •  การ Filter ข้อมูลประเภทวันที่
  •  การอ้างถึงวันที่ให้คลุมด้วยเครื่องหมาย #
  •  การ Filter ช่วงวันที่
  •  การใช้ Function Month และ Year กับ Field ประเภทวันที่

7. การสร้าง Query แบบเชื่อมโยง 2 Tables, ประโยชน์ของ Query ที่ดีกว่า Filter และ Inner Join

  •  การสร้าง Query แบบเชื่อมโยง 2 Tables
  •  ประโยชน์ของ Query และสิ่งที่ดีกว่า Filter
  •  ศึกษา SQL Statement แบบ Inner Join
  •  การ switch ไปยังหน้าจอต่าง ๆ ของ Query : SQL View, DataSheet View และ Design View

8. การเรียงข้อมูลแบบหลาย Fields ใน Query และศึกษาเกี่ยวกับ SQL Statement : Order by

  •  การเรียงข้อมูลแบบหลาย ๆ Fields ใน Query
  •  ศึกษาคำสั่ง Order by และการเรียงจากมากไปน้อย และจากน้อยไปมาก โดยใช้ desc
  •  Field ที่ไม่สามารถจัดเรียงได้ ได้แก่ Memo, HyperLink และ OleObject ห้าม Sort

9. การใส่เงื่อนไขใน Query แบบหลาย Fields และการใช้ AND, OR ใน Query Designer

  •  การใส่เงื่อนไขหลาย ๆ ตัวใน Query Designer โดยใส่ที่ Criteria และ OR ว่าต้องเลือกใส่อย่างไร
  •  SQL Statement แบบใช้ Where และการใช้ And, OR และวงเล็บใน SQL Statement
  •  ลำดับของ SQL Statement คือ Select … From …Where…Order by

10. Query ที่ตรวจสอบค่า Null ของ Field และความหมายของ Show ใน Query Designer

  •  การตรวจสอบค่า Null โดยใช้ Is Null
  •  การตรวจสอบค่าที่ไม่ใช่ Null โดยใช้ Not Is Null
  •  ความหมายของ Show Check Box ใน Query Designer

11. การทำ Query เพื่อตัดตัวอักษรแรก โดยใช้ฟังก์ชัน Left การใช้ Group By และ Count

  • การใช้ Left เพื่อตัดตัวอักษรแรก
  • การตั้งชื่อฟิลด์ใหม่ที่สร้างขึ้นใน Access โดยใช้สัญลักษณ์ : ส่วน SQL Statement จะใช้ as
  •  การใช้ Group By เพื่อจัด Group ข้อมูล
  •  การเพิ่มบรรทัด Total ใน Query Designer
  •  การใช้ Group by ร่วมกับ Count
  •  การ Count ต้องระวังไม่นับ Field ที่เป็น Null

12. การจัดอันดับ โดยใช้ Top 10 หรือ Top 10 Percent ซึ่งสามารถกำหนดเป็นตัวเลข หรือเปอร์เซนต์ได้

  • เลือกข้อมูล 10 อันดับแรก หรือ Top 10
  •  เลือกข้อมูล 10% ของ Record ทั้งหมด โดยใช้ Select Top 10 Percent …
  •  ศึกษา SQL Statement เกี่ยวกับ Select Top …

13. การหาตำแหน่งตัวอักษรที่ต้องการ โดยใช้ Instr และการนำ Query มาออกแบบ Query ซ้ำ เพื่อสลับ First Name และ Last Name

  •  การหาตำแหน่ง comma ว่าอยู่ที่ตำแหน่งตัวอักษรที่เท่าไร โดยใช้ Instr
  •  การนำ Query มาทำเป็น Query ใหม่ ซึ่งไม่จำเป็นต้องดึงจาก Table เสมอไป
  •  การตัดตัวอักษรโดยใช้ Mid และ Left
  •  แยกข้อมูลชื่อและนามสกุลที่เป็น Field เดียวกัน ให้แยกเป็นคนละ Field

14. การเลือก Records โดยข้อมูลที่ซ้ำกัน จะเลือกมาแค่ 1 Record โดยใช้ Distinct หรือ Unique Value

  •  การเลือก Record ที่ซ้ำกันมาแค่ 1 Record โดยไม่ได้ใช้ Group by แต่ใช้ Unique Value
  •  SQL Statement ที่ใช้คือ Unique Value

15. การสรุปผลที่มีการ Group มากกว่า 1 Fields และรูปแบบ Group by ซึ่งต่างจาก Distinct

  •  การสรุปผล Group by มากกว่า 1 Fields
  •  ข้อแตกต่างระหว่าง Group by กับ Distinct ตรง Distinct จะไม่สามารถสรุปการนับได้

16. การสรุปผลในรูปแบบ CrossTab Query ตัวอย่างที่ 1 และเทคนิคในการเลือก Fields ในการทำ CrossTab

  •  การสร้าง CrossTab Query ตัวอย่างที่ 1
  •  การกำหนด Field ให้เป็น Row Heading, Column Heading และ Value ร่วมกับการใช้ Group by และ Count
  •  CrossTab เป็นการนำค่าที่อยู่ใน Record มาแตกเป็น Heading ของ Field ใหม่

17. การ Export ข้อมูลจาก Query ที่สร้างขึ้นไปยัง Excel

  •  การ Export ข้อมูลที่สรุปผลจาก Query ไปเป็น Excel
  •  สำหรับผู้ที่ใช้ Excel ก็จะมีประโยชน์ในการนำไปตกแต่ง ก่อนที่จะพิมพ์ได้

18. การเชื่อมโยงข้อมูลไปที่ Table ตัวเดียวกัน และการใช้ Inner Join และ Outer Join

  •  การเชื่อมโยงข้อมูลไปที่ Table ตัวเดียวกัน
  •  การอ้าง Fields จำเป็นต้องระบุชื่อ Table เพราะมี Fields เหมือนกัน
  •  การดึงข้อมูลจากด้านหนึ่งทั้งหมด โดยใช้ Outer Join : Left Join หรือ Right Join เปรียบเทียบกับ Inner Join
  •  การเชื่อม String โดยใช้เครื่องหมาย & และข้อดีกว่าการใช้เครื่องหมาย +

19. การใช้ DateDiff เพื่อหาอายุเมื่อเทียบกับวันเกิด โดยใช้ฟังก์ชันนี้ใน Query

  •  การคำนวณอายุจากวันเกิดโดยใช้ DateDiff
  •  การคำนวณอายุการทำงานจากวันที่เข้างาน
  •  การใช้ Help ของ Access เพื่อดูรายละเอียดเกี่ยวกับฟังก์ชัน DateDiff
  •  การคำนวณผลต่างเป็น ปี เป็นเดือน และเป็นวัน

20. การใช้ Chr(13) เพื่อต่อข้อมูลที่ต้องการขึ้นบรรทัดใหม่.

  •  การใช้ Chr(13) เพื่อต่อข้อมูลที่ต้องการขึ้นบรรทัดใหม่

21. การทำ SubQuery โดยการเขียน SQL Statement ใน Criteria

  •  การทำ SubQuery 
  •  การเขียน SQL Statement ในส่วนของ Criteria ใน Query Designer

22. ตัวอย่างการสร้าง Query แบบ Inner Join และสร้าง Field ที่เป็นการคำนวณระหว่าง Fields ขั้นที่ 1

  •  การปรับเปลี่ยน Properties ใน Linked Tables สามารถทำได้กับบางคุณสมบัติ แต่ไม่สามารถทำได้กับการเปลี่ยนโครงสร้าง Field
  •  เรียงลำดับ Fields ที่ต้องการ Sort ก่อนหลัง เมื่อมีการ Sort มากกว่า 1 Fields
  •  สร้าง Field คำนวณยอดเงิน
  •  เชื่อมข้อมูลระหว่าง Order Details กับ Products

23. Field Discount กับ Format ที่เป็น Percent และคำนวณยอดเงินก่อนลด และยอดเงินหลังลด

  •  รูปแบบ Format Percent ใน Field ส่วนลด
  •  การ Zoom ข้อมูลที่พิมพ์ยาว ๆ ใน Query Designer โดยการกด Shift+F2
  •  คำนวณยอดเงินก่อนหักส่วนลด
  •  คำนวณส่วนลด
  •  คำนวณยอดเงินหลังหักส่วนลด

24. การปรับทศนิยมไม่รู้จบใน Query ให้เป็นจำนวนเงิน โดยใช้ CCur เพื่อปรับให้เป็นประเภท Currency.

  •  การใช้ฟังก์ชัน CCur เพื่อปรับทศนิยมไม่รู้จบ ให้เป็นประเภท Currency

25. สรุปยอดเงินตาม Order ID รวมถึงส่วนลด และยอดเงินในแต่ละ Order

  •  ความสัมพันธ์ระหว่าง Orders และ Order Details
  •  สรุปยอดเงิน และส่วนลดในแต่ละ Order ID
  •  ใช้เทคนิค Group by และ Sum เพื่อสรุปยอดตาม Order ID 
  •  ดึงความสัมพันธ์ของ Table Orders เพื่อแสดงผลวันที่สั่ง และวันที่จัดส่งสินค้า

26. การนำ Query มาสรุป CrossTab ยอดซื้อ แยกตามเดือน และลูกค้า

  •  สรุปข้อมูลยอดซื้อ แยกตามเดือน และลูกค้าในลักษณะ CrossTab Query
  •  การใช้ Format เพื่อเปลี่ยนให้เป็นชื่อเดือน

27. การใส่เงื่อนไขใน CrossTab Query เพื่อเลือกเฉพาะข้อมูลของปีที่ต้องการ และ Transform…Pivot…

  •  การใส่เงื่อนไขใน CrossTab Query เพื่อเลือกข้อมูลเฉพาะปีที่ต้องการ
  •  รูปแบบ SQL Statement ซึ่งเป็นแบบ Transform…Pivot

28. หาข้อมูลลูกค้าที่ไม่ได้สั่งซื้อในปี 1994 และการใช้ IN และ Not In (แบบที่ 1)

  •  การหาข้อมูลลูกค้าที่ไม่ได้สั่งซื้อในปี 1994
  •  การใช้ IN และ Not IN

29. การหาลูกค้าที่ไม่ได้สั่งซื้อในปี 1994 โดยใช้เทคนิค Left Join

  •  ใช้เทคนิค Left Join ในการหารายชื่อลูกค้าที่ไม่มีการสั่งซื้อในปี 1994
  •  การสร้าง Left Join ระหว่าง Table กับ Query

30. การสร้าง Query แบบ Make Tables และประเภทของ Action Queries

  • ประเภทของ Action Queries
  • การสร้าง Query แบบ Make Tables

31. การสร้าง Delete Query เพื่อลบข้อมูลตามเงื่อนไข.

  •  การสร้าง Delete Query เพื่อลบข้อมูลออกจาก Table ตามเงื่อนไข

32. การสร้าง Update Query เพื่อ Update ราคาสินค้าเพิ่มขึ้น 10%.

  •  การสร้าง Update Query เพื่อ Update ราคาสินค้าเพิ่มขึ้น 10%

เนื้อหาใน CD แผ่นที่ 3

1. เตรียม Databases และเปลี่ยน Link Tables ก่อนการศึกษาเรื่อง Form ของ Access

  •  เตรียม Databases และเปลี่ยน Link Tables ก่อนการศึกษาเรื่อง Form ของ Access
  •  เปลี่ยน Link Tables ตาม Path ของ Databases โดยใช้ Link Tables Manager

2. เหตุผลในการสร้าง Form และเริ่มต้นสร้าง Form แรกโดยใช้ Wizard

  •  ประโยชน์ของ Form เมื่อเทียบกับ DataSheet
  •  ใช้ Wizard ในการสร้างฟอร์ม โดยเลือก Table เลือก Fields และสีสันต่าง ๆ กับ Table Products2
  •  ToolBox และ FieldList เพื่อช่วยในการออกแบบ Form

3. ปรับเปลี่ยน Form ที่มาจาก Wizard และเรียนรู้ที่มาที่ไป และการเปลี่ยน Design

  •  การขยาย Field โดยใช้ Mouse และใช้ลูกศร
  •  รูปแบบ ComboBox ที่สร้างให้อัตโนมัติ จากการออกแบบ Table แบบ Lookup
  •  การเลือก Controls หลาย ๆ ตัว ใช้ Shift+Click หรือเอา Mouse ลากเลือก Controls ที่ต้องการเพื่อเปลี่ยน Font
  •  เอา Mouse ลากที่มุมบนซ้าย เพื่อแยกเลื่อน Control ที่จับคู่กัน
  •  การขยาย Control โดยใช้ Mouse ลาก หรือกด Shift และลูกศร

4. ส่วนของ Form Header และ Footer และใช้ Control ประเภท Label เปลี่ยนรูปแบบของ Label และ Associated Label

  •  ปรับส่วน Form Header และ Form Footer
  •  การไปยัง Record ต่าง ๆ โดยใช้ Record Navigator หรือ PageUp, PageDown
  •  การใช้ Label Control และการปรับเปลี่ยนรูปแบบ เปลี่ยน Font เปลี่ยนสีตัวอักษร และเปลี่ยนสีพื้นเป็น Transparent หรือสีอื่นๆ
  •  การจัดการกับ Associated Label และเหตุผลในการสร้าง Associated Label

5. การเปลี่ยนตำแหน่ง Tab Order หรือลำดับ Field ที่ต้องการไป และ StatusBarText

  •  แทรก Field Supplier ID ในตำแหน่งที่ต้องการ
  •  การเปลี่ยนตำแหน่ง Tab Order
  •  เลือก Font ต้องระวัง ควรเลือก Font ที่มีอยู่แล้วในเครื่องทั่วไป
  •  ให้ขึ้นข้อความช่วยเหลือที่ StatusBar โดยกำหนดที่ StatusBarText
  •  การ Double Click ที่จุด จะช่วยขยายขนาด Control ให้อัตโนมัติ
  •  การกำหนดคุณสมบัติที่ Properties Window

6. การป้อนข้อมูลกับ Controls ต่าง ๆ ได้แก่ ComboBox และ CheckBox จะป้อนอย่างไรให้สะดวก

  •  การไปยัง Record แรกให้กด Ctrl+Home ส่วนการไปยัง Record สุดท้ายให้กด Ctrl+End
  •  การป้อนข้อมูลในส่วนของ Combo Box และกด F4 เพื่อให้ขึ้นรายการเลือก
  •  การจัดการข้อมูลที่เป็น CheckBox สามารถใช้ Mouse Click หรือ Space Bar เพื่อเปลี่ยนเป็น Yes หรือ No

7. การกำหนดให้ Form สามารถแก้ไข หรือดูอย่างเดียว รวมถึงการอนุญาตให้เพิ่มข้อมูลหรือไม่ และรู้จักกับ Record Source, Control Source

  •  Form จะมี Record Source เพื่อกำหนด Table ที่ต้องการดึงข้อมูลมา
  •  การกำหนดให้ Form สามารถเพิ่มข้อมูลได้หรือไม่ แก้ไขได้หรือไม่ที่ Properties ของ Form
  •  การกำหนด Control Source ให้กับ Control เพื่อให้ดึงหรือเก็บข้อมูลลงใน Field ที่ต้องการ
  •  การปรับ Format จะไม่กระเทือนถึง Table ที่ออกแบบไว้แล้ว
  •  การกำหนด Record Selectors, ScrollBars และ Navigation Buttons

8. การแสดงจำนวน Record ในส่วนของ Form Footer และเทคนิคการ Design อื่น ๆ

  •  การเลือก Controls หลาย ๆ ตัวพร้อมกัน และการเลือกโดยไปที่เมนู Edit แล้วเลือก Select All
  •  การยกเลิก Dividing Lines เพื่อไม่ให้มีเส้นแบ่ง
  •  การแสดงจำนวน Records ที่ Form Footer
  •  การลาก Control แต่ละตัวแยกกัน
  •  การ Double Click ที่จุด Handle เพื่อปรับขนาดความสูงของ Control ตามขนาด Font
  •  การแสดงจำนวน Record ในส่วนของ Form Footer

9. การคำนวณยอด Amount ของแต่ละ Record ซึ่งเกิดจากการคำนวณ 2 Fields และการใส่สูตร

  •  การ Copy ให้กด Ctrl+C และการ Paste ให้กด Ctrl+V
  •  การใส่สูตรในการคำนวณระหว่าง 2 Fields
  •  เมื่อมีการแก้ไขข้อมูล Field ใด Field หนึ่ง Field ที่คำนวณของคำนวณใหม่ให้อัตโนมัติ

10. การค้นข้อมูล และการใช้ Filter ใน Form และการไม่ให้ผู้ใช้ปรับเปลี่ยน Properties เอง

  •  การค้นข้อมูล โดยค้นจากส่วนเริ่มต้นของ Field หรือส่วนใด ๆ ของ Field
  •  การใช้ Filter ใน Form กับการ Apply Filter และ Remove Filter
  •  การ Lock ไม่ให้ผู้ใช้ปรับเปลี่ยน Properties เอง

11. การสร้าง Combo Box เพื่อแสดงข้อมูลจาก Supplier และเทคนิคในการเลือก Field และการเลือก Bound Column

  •  การสร้าง Combo Box เพื่อดึงข้อมูลจาก Suppliers
  •  เทคนิคในการเลือก Fields สำหรับ Columns ต่าง ๆ
  •  การกำหนดความกว้างของแต่ละ Column สำหรับใน Combo Box
  •  ปรับ Bound Column และกำหนด Properties อื่น ๆ ของ Combo Box

12. การสร้าง Form ขึ้นใช้เองแบบไม่ใช้ Wizard และการจัดการกับภาพในฐานข้อมูล และการจัดเรียง Controls ให้ตรงกัน

  •  การสร้าง Form Categories ขึ้นใช้เอง โดยไม่พึ่ง Wizard
  •  การจัดการกับภาพที่เก็บในฐานข้อมูล ว่าจะแทรกภาพหรือเปลี่ยนภาพได้อย่างไร
  •  การทำให้ขนาด Controls เท่ากัน
  •  การทำให้ Controls เรียงตรงกัน
  •  การปรับขนาดภาพให้มีขนาดเท่ากรอบที่กำหนดไว้ โดยกำหนดที่ Size Mode

13. สร้าง Continuous Form ให้กับ Table Products2

  •  การสร้าง Continuous Form ให้กับ Table Products2
  •  แยกส่วน Label ออกจาก TextBox โดยการ Cut แล้ว Paste ในส่วนของ Form Header
  •  การจัดหน้าจอให้สวยงามสำหรับ Continuous Form
  •  ดึง Fields ต่าง ๆ และสร้าง Fields คำนวณใน Continuous Form

14. การสร้าง Sub Forms โดยนำ Form หนึ่ง มาเป็นส่วนหนึ่งของอีก Form หนึ่ง และเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง Forms

  •  การสร้าง Sub Form และเทคนิคการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง Form หลักกับ Form ย่อย
  •  การกำหนด Source Object, Link Master Field และ Link Child Field
  •  การกำหนดให้ Sub Form มาจาก Table หรือ Query

15. การทำยอดสรุปใน Sub Form และเทคนิคในการเขียนสูตร

  •  การทำยอดสรุปใน Sub Form
  •  การนับจำนวน Record ใน Sub Form
  •  การหาจำนวนรวมสินค้าในแต่ละกลุ่ม
  •  การหายอดคงคลังในแต่ละกลุ่ม

16. การนำข้อมูลปีของหนังสือมาแสดงใน ListBox หรือนำมาจาก Query และการกำหนด RowSource ของ ListBox

  •  สร้าง Form เปล่าโดยไม่ได้เชื่อมกับ Tables
  •  การนำ SQL Statement มาใส่ใน Row Source ของ ListBox
  •  นำข้อมูลปีที่ไม่ซ้ำกัน มาแสดงใน ListBox

17. สร้าง SubForm TitleSub เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลกับ ListBox ที่เลือกรายการไว้

  • การเชื่อมโยงระหว่าง Control กับ Sub Form
  •  การเชื่อมโยงในส่วนของ Link Master Field สามารถเป็น Control ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นชื่อ Field

18. การหาจำนวนผู้แต่งของหนังสือแต่ละเล่ม เพื่อมาแสดงบน Form

  •  ปรับเปลี่ยนข้อมูลจากที่ Design ไว้แล้ว เพื่อดึงข้อมูลตาม Query ที่ต้องการ
  • หาจำนวนผู้แต่งของหนังสือแต่ละเล่ม
  • เลือก Fields ที่ต้องการ รวมถึง Link Child Fields ด้วย

19. การใช้ Radio ร่วมกับ Option Group และนำค่าไปเก็บใน Field

  •  การออกแบบ Field เพื่อใช้กับ Radio และ Option Group
  •  การกำหนดค่าให้เก็บใน Field ให้กำหนดที่ ControlSource ของ Option Group

20. การใช้ Toggle Button ร่วมกับ Option Group

  • การใช้ Toggle Button ร่วมกับ Option Group
  • การกำหนดค่าให้เก็บลง Field

21. การใช้ Tab Control และการกำหนดคุณสมบัติต่าง ๆ ของ Tab

  •  การใช้ Tab Control
  •  การเพิ่ม Page ใน Tab Control และการลบออก
  •  การปรับรูปแบบ Tab
  •  การแทรก Control เข้าไปใน Tab Page แต่ละตัว

22. การสรุปข้อมูล เพื่อสร้างกราฟ โดยใช้ CrossTab Query

  •  สร้าง CrossTab Query เพื่อสร้างกราฟ
  •  เลือก Control ที่ชื่อ UnBound Object Frame แล้วเลือก Microsoft Graph Chart

23. การแก้ปัญหากราฟที่ดึงข้อมูลมาให้ไม่ครบ ขาดไป 1 แถว. - การแก้ปัญหากราฟที่ดึงข้อมูลมาให้ไม่ครบ ขาดไป 1 แถว
24. การตกแต่งกราฟ และการเลือกประเภทของกราฟ

  •  การตกแต่งกราฟ
  •  การเลือกประเภทของกราฟ
  •  การกำหนดคุณสมบัติบน ToolBar ของ Chart
  •  การเข้าสู่โหมดการแก้ไขของกราฟ

25. การสร้าง Form SwitchBoard เพื่อให้สามารถ Click ไปฟอร์มต่าง ๆ ได้

  •  การสร้าง SwitchBoard Form เพื่อให้สามารถ Click ไปที่ Form อื่น ๆ ได้
  •  การแก้ไข SwitchBoard
  •  การสร้างรายการต่าง ๆ ใน SwitchBoard

26. การกำหนด Startup เพื่อให้เปิดฟอร์มที่ต้องการ เมื่อมีการเปิดฐานข้อมูล Access

  •  การกำหนดรูปแบบ Startup ว่าจะให้เริ่มจาก Form ใด
  •  การกำหนด Application Title และอื่น ๆ ใน Option ของ Startup
Book QTY 1 เล่ม
Printing พิมพ์ 4 สี
Cover ปกอ่อน
Weight 375.2000

หากเราจะพูดถึงเครื่องมือที่จะช่วยจัดการงานทางด้านฐานข้อมูลแล้ว ผู้เขียนเชื่อว่า Microsoft Access จะเป็นเครื่องมืออันดับต้นๆ ที่ผู้ใช้ระดับทั่วไปนึกถึง Microsoft Access จะช่วยให้คุณสามารถสร้างโปรแกรม ประยุกต์ และมีการติดตามที่สวยงาม สามารถใช้งานได้จริง มีความสะดวกเร็วในการใช้งาน โดยไม่จำเป็นต้อง มีความรู้เชิงลึกเกี่ยวกับฐานข้อมูล และนอกจากนั้นคุณยังสามารถเรียนรู้เพิ่มเริ่มต้นใช้งานได้อย่างรวดเร็ว คุณยังสามารถสร้าง และปรับโปรแกรมประยุกต์และรายงานให้เปลี่ยนไปตามความต้องการทางธุรกิจได้

สื่อการสอนชุด “Access 2003-2007 QuickStart Tutorials” ที่ทางบริษัทเอ็มไอเอส ซอฟท์เทค จำกัด ร่วมกับ อ.ธงชัย พยุงภร ผลิตออกมานี้ เหมาะ สำหรับผู้ใช้ทุกระดับ ตั้งแต่ระดับเบื้องต้นไปจนถึงระดับมืออาชีพ เนื่องจากมีเนื้อหาที่เจาะลึกอย่างละเอียด ซึ่งเป็นอีกหนึ่งความภูมิใจ ที่ทีมงานของเราพร้อมที่จะนำเสนอให้กับท่านได้มีเก็บเอาไว้เพื่อใช้ในการศึกษา ของคุณต่อไปได้เป็นอย่างดี

  • จัดการกับ Tables และ Linked Tables เมื่อต้องการเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลอื่น
  • Query ข้อมูลชั้นสูง เพื่อสรุปข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ และ CrossTab Query
  • สร้าง Forms และ SubForm เพื่อทำหน้าจอ Input ข้อมูลอย่างละเอียด
  • เทคนิคต่าง ๆ ในการทำ Report-SubReport และกราฟ
  • เขียน Macro เพื่อทำงานอัตโนมัติภายใน Forms ต่าง ๆ
  • รูปแบบที่แตกต่างออกไปใน Access 2007 เมื่อเทียบกับ Access 2003

เนื้อหาใน CD แผ่นที่ 1

1. เตรียมเครื่องและติดตั้งชุด Microsoft Office และการสร้างฐานข้อมูลใหม่

  • จัดเตรียมเครื่อง
  • ติดตั้งชุด Microsoft Access
  • ผู้สอน อ.ธงชัย พยุงภร
  • การสร้างฐานข้อมูลใหม่
  • การนำไฟล์ตัวอย่างจาก CD-ROM ไปศึกษา และการกำหนดคุณสมบัติ (Properties)

2. ความหมายของนามสกุล ldb และ mdb และการเปิดฐานข้อมูลแบบต่าง ๆ

  • ความหมายของนามสกุล ldb และ mdb ของ Microsoft Access
  • การเปิดฐานข้อมูลแบบต่าง ๆ ได้แก่ Open, Open ReadOnly, Exclusive และ Exclusive Readonly

3. การเปลี่ยนภาษาของเมนู และ Macro Security

  • ถ้าต้องการเปลี่ยนภาษาของเมนูให้เป็นภาษาไทย ต้องติดตั้ง Microsoft Office Language Pack ที่เป็นภาษาไทยก่อน
  • คำเตือน และการแก้ไขของ Macro Security

4. ความหมายของ Objects ต่าง ๆ ใน Microsoft Access ได้แก่ Tables, Queries, Forms, Reports, Pages, Macro และ Modules

  • ความหมายของ Objects ต่าง ๆ ใน Microsoft Access ได้แก่ Tables, Queries, Forms, Reports, Pages, Macro และ Modules

5. เปรียบเทียบ Access กับ Excel การสร้าง Table Categories และการสร้าง Primary Key

  • เปรียบเทียบการเก็บฐานข้อมูลใน Access และ Excel
  • การสร้าง Table ใหม่ชื่อ Categories
  • ความหมายของ Field ประเภท Number : Byte, Integer, Long Integer และประเภท Text
  • การสร้างและความหมายของ Primary Key

6. การใส่ Description ให้กับ Table และการป้อนข้อมูลใน Table และการไป Records ต่าง ๆ ของ Table

  • การใส่ Description หรือคำอธิบายให้กับ Table
  • การ View ในรูปแบบต่าง ๆ : Large Icons, Small Icons, List, Details
  • การป้อนข้อมูลใน Table
  • การเปลี่ยน Font ในการป้อนข้อมูล
  • การไปยังเรคคอร์ดต่าง ๆ โดยใช้ Record Navigation
  • การทดลองป้อนข้อมูลซ้ำ และคำเตือนหลังจากที่ได้กำหนด Primary Key ไว้แล้ว

7. การกำหนด Layout ของ Tableในการเรียงลำดับ Fields ต่าง ๆ และการเรียงข้อมูลใน Table

  • การลาก Fields ไปยังตำแหน่งต่าง ๆ
  • Access จะเก็บ Layout ในการเก็บลำดับ Field และความกว้างของแต่ละ Field ไว้
  • การจัดเรียงข้อมูลตาม Field ที่ต้องการจากน้อยไปมาก และจากมากไปน้อย

8. หน้าจอส่วน Design และ View ของ Table และความหมายของ Caption และ Description ของ Fields

  • Access จะจัดเก็บลำดับในการจัดเรียงครั้งสุดท้ายไว้เสมอ
  • การเปลี่ยนหน้าจอไปยังหน้า Design และ View ของ Table
  • การใส่ Description ของ Field จะปรากฎที่ Statusbar ของ Access
  • ควรตั้งชื่อ Field ให้เป็นภาษาอังกฤษ และ Caption สามารถกำหนดเป็นภาษาไทยได้

9. ความหมายในการสร้าง Primary Key และ Indexes แบบต่าง ๆ

  • การ switch หน้าจอแบบ Design View และ DataSheet View แบบต่าง ๆ
  • การกำหนดให้ข้อมูลชื่อกลุ่มสินค้าไม่สามารถซ้ำได้
  • วิธีเลือก field ในการสร้าง PrimaryKey
  • การสร้าง Index แบบต่าง ๆ และเหตุผลในการสร้าง Index เมื่อต้องการค้นข้อมูล หรือ จัดเรียงข้อมูล
  • ปุ่ม Indexes บน ToolBar
  • ความหมายของ Properties ของ Indexes
  •  ตรวจสอบข้อมูลที่ซ้ำว่าไม่สามารถป้อนได้ เมื่อมีการสร้าง Index แบบ No Duplicate

10. วิธีกำหนดให้ DataSheet ที่เปิดอยู่ใน TaskBar ของ Windows

  • การกำหนดให้ DataSheet ที่เปิดอยู่ใน TaskBar ของ Windows หรือไม่
  • การ switch ระหว่างหน้าจอ Database และ DataSheet View

11. การตั้งชื่อ Field และกำหนด DefaultValue ให้กับฟิลด์ประเภทวันที่ (DateTime)

  • การกำหนด Default Value ให้กับ Field
  • Access สามารถตั้งชื่อ Field ที่มีเว้นวรรคได้
  • ความหมายของ Field ประเภท DateTime, Number และ Text
  • การใช้ Now() เพื่อใส่วันที่และเวลาปัจจุบัน
  • การ Copy และ Paste ในกรณีที่ต้องการ Copy ข้อมูลจาก Record หนึ่งไปยังอีก Record หนึ่ง

12. การกำหนดให้ Field ชื่อกลุ่มสินค้า จำเป็นต้องป้อนข้อมูล โดยกำหนด Required และ Allow Zero Length

  • การกำหนดให้บาง field จำเป็นต้องป้อนข้อมูล
  • ความหมายของ Required 
  • ความหมายของ Allow Zero Length
  • การ switch ค่าระหว่าง Yes และ No โดยการ Double Click

13. การใช้ Table Wizard และสร้างตาราง Products

  • การใช้ Table Wizard
  • ออกแบบ Table Products และความหมายของ Field ที่สร้าง
  • กำหนด Properties ต่าง ๆ ของ Fields และ Indexes

14. สร้าง Field CategoryID ใน Table Products เพื่อเชื่อมโยงกับ Table Category และการสร้าง Lookup ใน DataSheet

  • สร้าง Field CategoryID ใน Table Products เพื่อเชื่อมโยงกับ Table Categories ใน Table Categories
  • การสร้าง Lookup ให้เป็น Combo Box ใน Field ของ CategoryID ของ Table Products
  • การกำหนด Property ของ ComboBox : ColumnWidths, ListWidth, BoundColumn, ColumnCount

15. การกำหนดรายละเอียดของ Lookup Table และการใช้ Query Builder สำหรับ RowSource ของ Combo Box

  • ความหมายของ Limit to List
  • การกำหนด Row Source และการใช้ Query Builder เพื่อให้เรียงข้อมูลตามที่ต้องการ
  • เปลี่ยน BoundColumn และ ColumnWidths เพื่อกำหนด BoundColumn ให้ถูกต้อง
  • ความหมายของ List Rows ของ ComboBox

16. การดึงข้อมูลจากฐานข้อมูลหนึ่งมายังอีกฐานข้อมูลหนึ่ง โดยการ Import และการเปลี่ยนชื่อ Table

  • การ Import Table จากฐานข้อมูลหนึ่งมายังอีกฐานข้อมูลหนึ่ง
  • การเปลี่ยนชื่อ Table

17. การสร้างและลบ Relationships ระหว่าง Table Categories2 และ Products2

  • การสร้างและการลบ Relationships ระหว่าง Tables
  • การลาก field เพื่อสร้าง Relation ระหว่าง Tables

18. สร้าง Relations อีกชุด และการ Add Tables ในส่วนของ Relationships และ DrillDown ใน Access

  • สร้างความสัมพันธ์ระหว่าง Tables อีกชุด
  • ประโยชน์ของการสร้าง Relations
  • Drill Down ของ Datasheet ใน Access

19. ความหมายของ Link Tables ซึ่งแตกต่างจากการ Import Tables

  • ความหมายของ Link Tables
  • ข้อแตกต่างจากการ Import Tables
  • ข้อดีของ Link Tables ที่ดีกว่า Import Tables

20. การใช้ Linked Table Manager เมื่อมีการแก้ไขชื่อ Database ต้นทาง หรือย้าย Directory

  • การเปลี่ยน Path ของ Database ของ Linked Table
  • การใช้ Linked Table Manager

21. การแก้ไขโครงสร้างของ Linked Table ต้องแก้ที่ Table ของ Database ต้นทาง และสร้าง Table ใหม่

  • Linked Table ไม่สามารถแก้ไขได้ จะแก้ไขต้องแก้ไขที่ Table ของ Database ต้นทาง
  • สร้าง Table Employee
  • สร้าง Field ประเภท AutoNumber ซึ่งเป็น Long Integer
  • Default Value ที่เป็น Date() ให้เก็บวันที่เท่านั้น ไม่ต้องเก็บเวลา
  • เหตุผลในกรณีที่เลือก Field ของ ZipCode เป็นประเภท Text

22. การใส่กฎเกณฑ์ให้กับ Field ที่ Validation Rule และ ValidateText

  • การใส่กฎเกณฑ์ของ Field ที่ Validation Rule และ ValidationText ของ Field
  • การใส่กฎให้วันที่ว่าจ้างต้องมากกว่าวันที่ 1 มกราคม 2000
  • การใส่กฎให้กับราคาทุนของสินค้าต้องมากกว่าหรือเท่ากับ 0 บาท
  • การออกแบบ Field สำหรับ Field VAT ว่าควรเลือก Field ประเภทไหน

23. ปัญหาของ Field ประเภทวันที่ และการปรับเปลี่ยนที่ Regional Settings ที่ Control Panel

  • ระวังการป้อนข้อมูลประเภทวันที่
  • กำหนด Format ของวันที่และ Currency ใน Regional Setting
  • ตรวจสอบ Validation ที่ได้ทำไว้แล้วของ Field ประเภทวันที่
  • กำหนด Format และรูปแบบ Format ของวันที่ใน Regional Setting
  • การกำหนดปีเป็นพุทธศักราช และคริสตศักราช

24. การกำหนด Format ของ Field ประเภทวันที่ และตัวเลขในแบบต่าง ๆ

  • ปรับระบบ Regional Setting ให้เป็นภาษาอังกฤษ ให้กลับสู่สภาพเดิม และปรับ Currency ให้เป็น ฿ เหมือนเดิม
  • Format ของข้อมูลประเภทวันที่ และความหมายของ ddd, dddd, mmm, mmmm
  • Format ของข้อมูลประเภทตัวเลข ให้มี comma คั่นที่หลักพันและหลักล้าน
  • Format ย่อยของตัวเลข ประกอบด้วย 4 ส่วน คือ บวก;ลบ;ศูนย์;Null

25. รูปแบบของ Format ของตัวเลข, ข้อแตกต่างของ Format ประเภท # และ 0 และ Multiple Clipboard

  •  รูปแบบ Format ของตัวเลข
  •  การใช้ Multiple Clipboard
  •  ข้อแตกต่างระหว่าง Format ของ # และ 0 ถ้าใช้ # หมายถึง ไม่แสดง 0 ถ้าข้างหน้าเป็น 0 หรือ ข้างหลังเป็น 0 หมด
  •  ถ้าใช้ 0 บังคับแสดง 0 ทุกตำแหน่งที่ระบุ

26. การบังคับให้ใส่ตัวเลขเท่านั้น ที่ ZipCode โดยกำหนดที่ InputMask

  •  การสร้าง InputMask ของ ZipCode
  •  รูปแบบและโครงสร้างของ InputMask
  •  สัญลักษณ์ของตัวอักษร เมื่อไม่ได้ป้อนข้อมูล
  •  ความหมายของตัวเลข 0 ใน InputMask หมายถึงให้พิมพ์ตัวเลขได้เท่านั้น ห้ามป้อนตัวอักษร และห้ามป้อนเว้นวรรค

27. การใส่ InputMask ของ MobilePhone และการใส่ Mask เพื่อให้ใส่ - ในฐานข้อมูลหรือไม่

  •  การใช้ InputMask กับ Field MobilePhone
  •  การใส่ - ในฐานข้อมูลหรือไม่ เมื่อมีการใช้ Mask

28. สัญลักษณ์ต่าง ๆ ของ InputMask และ InputMask ของ Password ในกรณีที่ป้อนแล้วต้องการให้ขึ้น *

  •  ส่วนต่าง ๆ ที่สำคัญและความหมายของ InputMask
  •  สัญลักษณ์ของ InputMask ต่าง เช่น 0, 9, #, a, A, L,? เป็นต้น
  •  การรับข้อมูลที่เป็น Password เมื่อมีการป้อนข้อมูลให้ขึ้นสัญลักษณ์ *

29. การกำหนด Format ให้มีสีสันต่างกัน และการปรับให้เป็นตัวอักษรตัวใหญ่ หรือตัวเล็กทั้งหมด

  •  การกำหนด Format ให้มีสีสันต่าง ๆ เช่น ถ้าเป็นบวกให้เป็นสีน้ำเงิน ถ้าติดลบให้เป็นสีแดง
  •  การปรับตัวอักษรให้เป็นตัวใหญ่ทั้งหมด หรือตัวเล็กทั้งหมด

30. การ Copy Field, Copy Record ใน Access และคุณสมบัติของ AutoNumber Field

  •  การ Copy Field ให้เหมือนเรคคอร์ดก่อนหน้า โดยการกด Ctrl คู่กับ Single Quote
  •  การ Copy Record
  •  คุณสมบัติของ AutoNumber Field ที่ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลได้

31. แก้ไขข้อมูล LookUp Table ของ Products2 ให้ถูกต้อง และการแก้ไข Table ในส่วนของ SQL View ของ Query Builder

  •  การปรับ Lookup Table ของ Products2 ซึ่งเป็น Table ที่ Imported เข้ามาให้ถูกต้อง
  •  SQL View ของ Query Builder
  •  โครงสร้างของ SQL Statement และการเปลี่ยนชื่อ Table ใน SQL View

32. การใส่ข้อมูลภาพลงใน Field OLE Object

  •  Field ข้อมูลประเภท OleObject
  •  การใส่ข้อมูลภาพใน Field ประเภท OLE Object
  •  การแก้ไขภาพที่ใส่ไว้ในฐานข้อมูลอยู่แล้ว
  •  การใส่ภาพแบบ Link และ Embed

33. สร้าง Field ประเภท Hyperlink ประโยชน์และการแก้ไข

  •  สร้าง Field ประเภท Hyperlink
  •  การแก้ไข Field ประเภท Hyperlink ทำได้ 2 วิธี
  •  ประโยชน์ของ Field Hyperlink
  •  โครงสร้างการเก็บข้อมูลของ Field Hyperlink

34. รู้จักกับ Field ประเภท Memo และ Yes/No และการจัด Format ของ Field Yes/No เอง

  •  สร้าง Field ประเภท Memo สำหรับในกรณีที่มีข้อมูลมาก ๆ มากกว่า 255 ตัว
  •  ข้อจำกัดของ Memo
  •  การขึ้นบรรทัดใหม่ใน Memo ให้กด Ctrl + Enter
  •  สร้าง Field ประเภท Yes/No หรือ Boolean
  •  การจัด Format ประเภท Boolean เอง ให้เป็นใช่/ไม่ และใส่สีให้แตกต่างกัน
  •  ข้อมูลจริง ๆ ที่เก็บของ Field Yes/No จะเป็น -1 และ 0
  •  การทำให้ Field Yes/No ไม่ใช่ CheckBox

35. การใช้ Field ประเภท Lookup Wizard

  •  การใช้ Field ประเภท Lookup Wizard
  •  การกำหนดค่าให้ผู้ใช้เลือก
  •  คล้ายกับ Lookup ก่อนหน้าที่ได้สร้างไว้แล้ว

36. การใส่กฎให้กับระดับ Table ที่ Table Properties

  •  รู้จักกับ Table Properties
  •  การใส่กฎระดับ Table เมื่อต้องการเปรียบเทียบระหว่าง Fields โดยใส่ ValidataionRule และ ValidationText ระดับ Table
  •  การตรวจสอบกฎจะตรวจสอบเมื่อเราจะเปลี่ยนเรคคอร์ด
  •  ข้อควรระวังก่อนการใส่กฎ ต้องตรวจสอบข้อมูลให้ถูกต้องเสียก่อน

37. การใช้ Order By และ Filter ในส่วนของ Table Properties และการ Apply Filter

  •  การใช้ Order By ในส่วนของ Table Properties
  •  ใช้ desc เพื่อกำหนดให้เรียงจากมากไปน้อย
  •  การใส่ Filter เพื่อดึงข้อมูลบางส่วน และการใช้ Apply Filter และ Remove Filter
  •  สรุปเกี่ยวกับ CD-ROM แผ่นนี้ซึ่งเน้นเกี่ยวกับการออกแบบ Table และรู้จักกับ Field และคุณสมบัติของ Field แบบต่าง ๆ

เนื้อหาใน CD แผ่นที่ 2

1. เตรียมข้อมูลและจัดการ Link Tables จาก Databases อื่นมา เพื่อศึกษาเรื่อง Query

  •  สร้าง Link Tables จากหลาย ๆ Databases มาที่ Databases ตัวเดียวกัน
  •  เตรียมข้อมูลและไฟล์เพื่อศึกษาเรื่อง Query

2. การใช้ Filter by Selection, Filter by Form และ Remove Filter เพื่อเลือกข้อมูลตัวเลขตามที่ต้องการ

  •  การใช้ Filter by Selection, Filter by Form และ Remove Filter
  •  การใช้ Filter Excluding Selection
  •  ข้อมูลการ Filter จะเก็บอยู่ในส่วนของ Table Properties
  •  การ Filter ข้อมูลส่วนที่เป็นตัวเลข และการใช้ between…and…

3. การ Filter ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร (String) ตามชื่อสินค้า และการใช้ Like และสัญลักษณ์ต่าง ๆ

  •  การ Filter ข้อมูลที่เป็น string ต้องคลุมด้วย single quote หรือ double quote
  •  การใช้ Like และการใช้ *, ! และวงเล็บก้ามปู เพื่อ Filter ข้อมูลที่ต้องการ
  •  การ Filter ข้อมูลตัวแรกที่เป็นช่วงของ string
  •  ตัวอักษรตัวใหญ่ ตัวเล็กเหมือนกัน

4. การ Freeze Column และ UnFreeze All Columns เพื่อ Lock บาง Columns ไว้ และการ Filter แบบหลายเงื่อนไข

  •  การ Freeze Columns เพื่อ Lock บาง Columns ไว้
  •  การยกเลิกการ Freeze Columns
  •  การ Filter แบบหลายเงื่อนไขพร้อมกัน

5. การ Filter ข้อมูลที่ต้องสั่งซื้อสินค้า โดยเปรียบเทียบระหว่าง Fields และการอ้างชื่อ Field

  •  การ Filter โดยการเปรียบเทียบระหว่าง Fields
  •  สัญลักษณ์ในการอ้างชื่อ Field ให้ใช้วงเล็บก้ามปูคลุม
  •  ดึงข้อมูลสินค้าที่มีจำนวนสินค้าน้อยกว่า Minimum Stock

6. การ Filter ข้อมูลประเภทวันที่ การใช้สัญลักษณ์ # และการใช้ Function Month และ Year

  •  การ Filter ข้อมูลประเภทวันที่
  •  การอ้างถึงวันที่ให้คลุมด้วยเครื่องหมาย #
  •  การ Filter ช่วงวันที่
  •  การใช้ Function Month และ Year กับ Field ประเภทวันที่

7. การสร้าง Query แบบเชื่อมโยง 2 Tables, ประโยชน์ของ Query ที่ดีกว่า Filter และ Inner Join

  •  การสร้าง Query แบบเชื่อมโยง 2 Tables
  •  ประโยชน์ของ Query และสิ่งที่ดีกว่า Filter
  •  ศึกษา SQL Statement แบบ Inner Join
  •  การ switch ไปยังหน้าจอต่าง ๆ ของ Query : SQL View, DataSheet View และ Design View

8. การเรียงข้อมูลแบบหลาย Fields ใน Query และศึกษาเกี่ยวกับ SQL Statement : Order by

  •  การเรียงข้อมูลแบบหลาย ๆ Fields ใน Query
  •  ศึกษาคำสั่ง Order by และการเรียงจากมากไปน้อย และจากน้อยไปมาก โดยใช้ desc
  •  Field ที่ไม่สามารถจัดเรียงได้ ได้แก่ Memo, HyperLink และ OleObject ห้าม Sort

9. การใส่เงื่อนไขใน Query แบบหลาย Fields และการใช้ AND, OR ใน Query Designer

  •  การใส่เงื่อนไขหลาย ๆ ตัวใน Query Designer โดยใส่ที่ Criteria และ OR ว่าต้องเลือกใส่อย่างไร
  •  SQL Statement แบบใช้ Where และการใช้ And, OR และวงเล็บใน SQL Statement
  •  ลำดับของ SQL Statement คือ Select … From …Where…Order by

10. Query ที่ตรวจสอบค่า Null ของ Field และความหมายของ Show ใน Query Designer

  •  การตรวจสอบค่า Null โดยใช้ Is Null
  •  การตรวจสอบค่าที่ไม่ใช่ Null โดยใช้ Not Is Null
  •  ความหมายของ Show Check Box ใน Query Designer

11. การทำ Query เพื่อตัดตัวอักษรแรก โดยใช้ฟังก์ชัน Left การใช้ Group By และ Count

  • การใช้ Left เพื่อตัดตัวอักษรแรก
  • การตั้งชื่อฟิลด์ใหม่ที่สร้างขึ้นใน Access โดยใช้สัญลักษณ์ : ส่วน SQL Statement จะใช้ as
  •  การใช้ Group By เพื่อจัด Group ข้อมูล
  •  การเพิ่มบรรทัด Total ใน Query Designer
  •  การใช้ Group by ร่วมกับ Count
  •  การ Count ต้องระวังไม่นับ Field ที่เป็น Null

12. การจัดอันดับ โดยใช้ Top 10 หรือ Top 10 Percent ซึ่งสามารถกำหนดเป็นตัวเลข หรือเปอร์เซนต์ได้

  • เลือกข้อมูล 10 อันดับแรก หรือ Top 10
  •  เลือกข้อมูล 10% ของ Record ทั้งหมด โดยใช้ Select Top 10 Percent …
  •  ศึกษา SQL Statement เกี่ยวกับ Select Top …

13. การหาตำแหน่งตัวอักษรที่ต้องการ โดยใช้ Instr และการนำ Query มาออกแบบ Query ซ้ำ เพื่อสลับ First Name และ Last Name

  •  การหาตำแหน่ง comma ว่าอยู่ที่ตำแหน่งตัวอักษรที่เท่าไร โดยใช้ Instr
  •  การนำ Query มาทำเป็น Query ใหม่ ซึ่งไม่จำเป็นต้องดึงจาก Table เสมอไป
  •  การตัดตัวอักษรโดยใช้ Mid และ Left
  •  แยกข้อมูลชื่อและนามสกุลที่เป็น Field เดียวกัน ให้แยกเป็นคนละ Field

14. การเลือก Records โดยข้อมูลที่ซ้ำกัน จะเลือกมาแค่ 1 Record โดยใช้ Distinct หรือ Unique Value

  •  การเลือก Record ที่ซ้ำกันมาแค่ 1 Record โดยไม่ได้ใช้ Group by แต่ใช้ Unique Value
  •  SQL Statement ที่ใช้คือ Unique Value

15. การสรุปผลที่มีการ Group มากกว่า 1 Fields และรูปแบบ Group by ซึ่งต่างจาก Distinct

  •  การสรุปผล Group by มากกว่า 1 Fields
  •  ข้อแตกต่างระหว่าง Group by กับ Distinct ตรง Distinct จะไม่สามารถสรุปการนับได้

16. การสรุปผลในรูปแบบ CrossTab Query ตัวอย่างที่ 1 และเทคนิคในการเลือก Fields ในการทำ CrossTab

  •  การสร้าง CrossTab Query ตัวอย่างที่ 1
  •  การกำหนด Field ให้เป็น Row Heading, Column Heading และ Value ร่วมกับการใช้ Group by และ Count
  •  CrossTab เป็นการนำค่าที่อยู่ใน Record มาแตกเป็น Heading ของ Field ใหม่

17. การ Export ข้อมูลจาก Query ที่สร้างขึ้นไปยัง Excel

  •  การ Export ข้อมูลที่สรุปผลจาก Query ไปเป็น Excel
  •  สำหรับผู้ที่ใช้ Excel ก็จะมีประโยชน์ในการนำไปตกแต่ง ก่อนที่จะพิมพ์ได้

18. การเชื่อมโยงข้อมูลไปที่ Table ตัวเดียวกัน และการใช้ Inner Join และ Outer Join

  •  การเชื่อมโยงข้อมูลไปที่ Table ตัวเดียวกัน
  •  การอ้าง Fields จำเป็นต้องระบุชื่อ Table เพราะมี Fields เหมือนกัน
  •  การดึงข้อมูลจากด้านหนึ่งทั้งหมด โดยใช้ Outer Join : Left Join หรือ Right Join เปรียบเทียบกับ Inner Join
  •  การเชื่อม String โดยใช้เครื่องหมาย & และข้อดีกว่าการใช้เครื่องหมาย +

19. การใช้ DateDiff เพื่อหาอายุเมื่อเทียบกับวันเกิด โดยใช้ฟังก์ชันนี้ใน Query

  •  การคำนวณอายุจากวันเกิดโดยใช้ DateDiff
  •  การคำนวณอายุการทำงานจากวันที่เข้างาน
  •  การใช้ Help ของ Access เพื่อดูรายละเอียดเกี่ยวกับฟังก์ชัน DateDiff
  •  การคำนวณผลต่างเป็น ปี เป็นเดือน และเป็นวัน

20. การใช้ Chr(13) เพื่อต่อข้อมูลที่ต้องการขึ้นบรรทัดใหม่.

  •  การใช้ Chr(13) เพื่อต่อข้อมูลที่ต้องการขึ้นบรรทัดใหม่

21. การทำ SubQuery โดยการเขียน SQL Statement ใน Criteria

  •  การทำ SubQuery 
  •  การเขียน SQL Statement ในส่วนของ Criteria ใน Query Designer

22. ตัวอย่างการสร้าง Query แบบ Inner Join และสร้าง Field ที่เป็นการคำนวณระหว่าง Fields ขั้นที่ 1

  •  การปรับเปลี่ยน Properties ใน Linked Tables สามารถทำได้กับบางคุณสมบัติ แต่ไม่สามารถทำได้กับการเปลี่ยนโครงสร้าง Field
  •  เรียงลำดับ Fields ที่ต้องการ Sort ก่อนหลัง เมื่อมีการ Sort มากกว่า 1 Fields
  •  สร้าง Field คำนวณยอดเงิน
  •  เชื่อมข้อมูลระหว่าง Order Details กับ Products

23. Field Discount กับ Format ที่เป็น Percent และคำนวณยอดเงินก่อนลด และยอดเงินหลังลด

  •  รูปแบบ Format Percent ใน Field ส่วนลด
  •  การ Zoom ข้อมูลที่พิมพ์ยาว ๆ ใน Query Designer โดยการกด Shift+F2
  •  คำนวณยอดเงินก่อนหักส่วนลด
  •  คำนวณส่วนลด
  •  คำนวณยอดเงินหลังหักส่วนลด

24. การปรับทศนิยมไม่รู้จบใน Query ให้เป็นจำนวนเงิน โดยใช้ CCur เพื่อปรับให้เป็นประเภท Currency.

  •  การใช้ฟังก์ชัน CCur เพื่อปรับทศนิยมไม่รู้จบ ให้เป็นประเภท Currency

25. สรุปยอดเงินตาม Order ID รวมถึงส่วนลด และยอดเงินในแต่ละ Order

  •  ความสัมพันธ์ระหว่าง Orders และ Order Details
  •  สรุปยอดเงิน และส่วนลดในแต่ละ Order ID
  •  ใช้เทคนิค Group by และ Sum เพื่อสรุปยอดตาม Order ID 
  •  ดึงความสัมพันธ์ของ Table Orders เพื่อแสดงผลวันที่สั่ง และวันที่จัดส่งสินค้า

26. การนำ Query มาสรุป CrossTab ยอดซื้อ แยกตามเดือน และลูกค้า

  •  สรุปข้อมูลยอดซื้อ แยกตามเดือน และลูกค้าในลักษณะ CrossTab Query
  •  การใช้ Format เพื่อเปลี่ยนให้เป็นชื่อเดือน

27. การใส่เงื่อนไขใน CrossTab Query เพื่อเลือกเฉพาะข้อมูลของปีที่ต้องการ และ Transform…Pivot…

  •  การใส่เงื่อนไขใน CrossTab Query เพื่อเลือกข้อมูลเฉพาะปีที่ต้องการ
  •  รูปแบบ SQL Statement ซึ่งเป็นแบบ Transform…Pivot

28. หาข้อมูลลูกค้าที่ไม่ได้สั่งซื้อในปี 1994 และการใช้ IN และ Not In (แบบที่ 1)

  •  การหาข้อมูลลูกค้าที่ไม่ได้สั่งซื้อในปี 1994
  •  การใช้ IN และ Not IN

29. การหาลูกค้าที่ไม่ได้สั่งซื้อในปี 1994 โดยใช้เทคนิค Left Join

  •  ใช้เทคนิค Left Join ในการหารายชื่อลูกค้าที่ไม่มีการสั่งซื้อในปี 1994
  •  การสร้าง Left Join ระหว่าง Table กับ Query

30. การสร้าง Query แบบ Make Tables และประเภทของ Action Queries

  • ประเภทของ Action Queries
  • การสร้าง Query แบบ Make Tables

31. การสร้าง Delete Query เพื่อลบข้อมูลตามเงื่อนไข.

  •  การสร้าง Delete Query เพื่อลบข้อมูลออกจาก Table ตามเงื่อนไข

32. การสร้าง Update Query เพื่อ Update ราคาสินค้าเพิ่มขึ้น 10%.

  •  การสร้าง Update Query เพื่อ Update ราคาสินค้าเพิ่มขึ้น 10%

เนื้อหาใน CD แผ่นที่ 3

1. เตรียม Databases และเปลี่ยน Link Tables ก่อนการศึกษาเรื่อง Form ของ Access

  •  เตรียม Databases และเปลี่ยน Link Tables ก่อนการศึกษาเรื่อง Form ของ Access
  •  เปลี่ยน Link Tables ตาม Path ของ Databases โดยใช้ Link Tables Manager

2. เหตุผลในการสร้าง Form และเริ่มต้นสร้าง Form แรกโดยใช้ Wizard

  •  ประโยชน์ของ Form เมื่อเทียบกับ DataSheet
  •  ใช้ Wizard ในการสร้างฟอร์ม โดยเลือก Table เลือก Fields และสีสันต่าง ๆ กับ Table Products2
  •  ToolBox และ FieldList เพื่อช่วยในการออกแบบ Form

3. ปรับเปลี่ยน Form ที่มาจาก Wizard และเรียนรู้ที่มาที่ไป และการเปลี่ยน Design

  •  การขยาย Field โดยใช้ Mouse และใช้ลูกศร
  •  รูปแบบ ComboBox ที่สร้างให้อัตโนมัติ จากการออกแบบ Table แบบ Lookup
  •  การเลือก Controls หลาย ๆ ตัว ใช้ Shift+Click หรือเอา Mouse ลากเลือก Controls ที่ต้องการเพื่อเปลี่ยน Font
  •  เอา Mouse ลากที่มุมบนซ้าย เพื่อแยกเลื่อน Control ที่จับคู่กัน
  •  การขยาย Control โดยใช้ Mouse ลาก หรือกด Shift และลูกศร

4. ส่วนของ Form Header และ Footer และใช้ Control ประเภท Label เปลี่ยนรูปแบบของ Label และ Associated Label

  •  ปรับส่วน Form Header และ Form Footer
  •  การไปยัง Record ต่าง ๆ โดยใช้ Record Navigator หรือ PageUp, PageDown
  •  การใช้ Label Control และการปรับเปลี่ยนรูปแบบ เปลี่ยน Font เปลี่ยนสีตัวอักษร และเปลี่ยนสีพื้นเป็น Transparent หรือสีอื่นๆ
  •  การจัดการกับ Associated Label และเหตุผลในการสร้าง Associated Label

5. การเปลี่ยนตำแหน่ง Tab Order หรือลำดับ Field ที่ต้องการไป และ StatusBarText

  •  แทรก Field Supplier ID ในตำแหน่งที่ต้องการ
  •  การเปลี่ยนตำแหน่ง Tab Order
  •  เลือก Font ต้องระวัง ควรเลือก Font ที่มีอยู่แล้วในเครื่องทั่วไป
  •  ให้ขึ้นข้อความช่วยเหลือที่ StatusBar โดยกำหนดที่ StatusBarText
  •  การ Double Click ที่จุด จะช่วยขยายขนาด Control ให้อัตโนมัติ
  •  การกำหนดคุณสมบัติที่ Properties Window

6. การป้อนข้อมูลกับ Controls ต่าง ๆ ได้แก่ ComboBox และ CheckBox จะป้อนอย่างไรให้สะดวก

  •  การไปยัง Record แรกให้กด Ctrl+Home ส่วนการไปยัง Record สุดท้ายให้กด Ctrl+End
  •  การป้อนข้อมูลในส่วนของ Combo Box และกด F4 เพื่อให้ขึ้นรายการเลือก
  •  การจัดการข้อมูลที่เป็น CheckBox สามารถใช้ Mouse Click หรือ Space Bar เพื่อเปลี่ยนเป็น Yes หรือ No

7. การกำหนดให้ Form สามารถแก้ไข หรือดูอย่างเดียว รวมถึงการอนุญาตให้เพิ่มข้อมูลหรือไม่ และรู้จักกับ Record Source, Control Source

  •  Form จะมี Record Source เพื่อกำหนด Table ที่ต้องการดึงข้อมูลมา
  •  การกำหนดให้ Form สามารถเพิ่มข้อมูลได้หรือไม่ แก้ไขได้หรือไม่ที่ Properties ของ Form
  •  การกำหนด Control Source ให้กับ Control เพื่อให้ดึงหรือเก็บข้อมูลลงใน Field ที่ต้องการ
  •  การปรับ Format จะไม่กระเทือนถึง Table ที่ออกแบบไว้แล้ว
  •  การกำหนด Record Selectors, ScrollBars และ Navigation Buttons

8. การแสดงจำนวน Record ในส่วนของ Form Footer และเทคนิคการ Design อื่น ๆ

  •  การเลือก Controls หลาย ๆ ตัวพร้อมกัน และการเลือกโดยไปที่เมนู Edit แล้วเลือก Select All
  •  การยกเลิก Dividing Lines เพื่อไม่ให้มีเส้นแบ่ง
  •  การแสดงจำนวน Records ที่ Form Footer
  •  การลาก Control แต่ละตัวแยกกัน
  •  การ Double Click ที่จุด Handle เพื่อปรับขนาดความสูงของ Control ตามขนาด Font
  •  การแสดงจำนวน Record ในส่วนของ Form Footer

9. การคำนวณยอด Amount ของแต่ละ Record ซึ่งเกิดจากการคำนวณ 2 Fields และการใส่สูตร

  •  การ Copy ให้กด Ctrl+C และการ Paste ให้กด Ctrl+V
  •  การใส่สูตรในการคำนวณระหว่าง 2 Fields
  •  เมื่อมีการแก้ไขข้อมูล Field ใด Field หนึ่ง Field ที่คำนวณของคำนวณใหม่ให้อัตโนมัติ

10. การค้นข้อมูล และการใช้ Filter ใน Form และการไม่ให้ผู้ใช้ปรับเปลี่ยน Properties เอง

  •  การค้นข้อมูล โดยค้นจากส่วนเริ่มต้นของ Field หรือส่วนใด ๆ ของ Field
  •  การใช้ Filter ใน Form กับการ Apply Filter และ Remove Filter
  •  การ Lock ไม่ให้ผู้ใช้ปรับเปลี่ยน Properties เอง

11. การสร้าง Combo Box เพื่อแสดงข้อมูลจาก Supplier และเทคนิคในการเลือก Field และการเลือก Bound Column

  •  การสร้าง Combo Box เพื่อดึงข้อมูลจาก Suppliers
  •  เทคนิคในการเลือก Fields สำหรับ Columns ต่าง ๆ
  •  การกำหนดความกว้างของแต่ละ Column สำหรับใน Combo Box
  •  ปรับ Bound Column และกำหนด Properties อื่น ๆ ของ Combo Box

12. การสร้าง Form ขึ้นใช้เองแบบไม่ใช้ Wizard และการจัดการกับภาพในฐานข้อมูล และการจัดเรียง Controls ให้ตรงกัน

  •  การสร้าง Form Categories ขึ้นใช้เอง โดยไม่พึ่ง Wizard
  •  การจัดการกับภาพที่เก็บในฐานข้อมูล ว่าจะแทรกภาพหรือเปลี่ยนภาพได้อย่างไร
  •  การทำให้ขนาด Controls เท่ากัน
  •  การทำให้ Controls เรียงตรงกัน
  •  การปรับขนาดภาพให้มีขนาดเท่ากรอบที่กำหนดไว้ โดยกำหนดที่ Size Mode

13. สร้าง Continuous Form ให้กับ Table Products2

  •  การสร้าง Continuous Form ให้กับ Table Products2
  •  แยกส่วน Label ออกจาก TextBox โดยการ Cut แล้ว Paste ในส่วนของ Form Header
  •  การจัดหน้าจอให้สวยงามสำหรับ Continuous Form
  •  ดึง Fields ต่าง ๆ และสร้าง Fields คำนวณใน Continuous Form

14. การสร้าง Sub Forms โดยนำ Form หนึ่ง มาเป็นส่วนหนึ่งของอีก Form หนึ่ง และเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง Forms

  •  การสร้าง Sub Form และเทคนิคการเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง Form หลักกับ Form ย่อย
  •  การกำหนด Source Object, Link Master Field และ Link Child Field
  •  การกำหนดให้ Sub Form มาจาก Table หรือ Query

15. การทำยอดสรุปใน Sub Form และเทคนิคในการเขียนสูตร

  •  การทำยอดสรุปใน Sub Form
  •  การนับจำนวน Record ใน Sub Form
  •  การหาจำนวนรวมสินค้าในแต่ละกลุ่ม
  •  การหายอดคงคลังในแต่ละกลุ่ม

16. การนำข้อมูลปีของหนังสือมาแสดงใน ListBox หรือนำมาจาก Query และการกำหนด RowSource ของ ListBox

  •  สร้าง Form เปล่าโดยไม่ได้เชื่อมกับ Tables
  •  การนำ SQL Statement มาใส่ใน Row Source ของ ListBox
  •  นำข้อมูลปีที่ไม่ซ้ำกัน มาแสดงใน ListBox

17. สร้าง SubForm TitleSub เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลกับ ListBox ที่เลือกรายการไว้

  • การเชื่อมโยงระหว่าง Control กับ Sub Form
  •  การเชื่อมโยงในส่วนของ Link Master Field สามารถเป็น Control ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นชื่อ Field

18. การหาจำนวนผู้แต่งของหนังสือแต่ละเล่ม เพื่อมาแสดงบน Form

  •  ปรับเปลี่ยนข้อมูลจากที่ Design ไว้แล้ว เพื่อดึงข้อมูลตาม Query ที่ต้องการ
  • หาจำนวนผู้แต่งของหนังสือแต่ละเล่ม
  • เลือก Fields ที่ต้องการ รวมถึง Link Child Fields ด้วย

19. การใช้ Radio ร่วมกับ Option Group และนำค่าไปเก็บใน Field

  •  การออกแบบ Field เพื่อใช้กับ Radio และ Option Group
  •  การกำหนดค่าให้เก็บใน Field ให้กำหนดที่ ControlSource ของ Option Group

20. การใช้ Toggle Button ร่วมกับ Option Group

  • การใช้ Toggle Button ร่วมกับ Option Group
  • การกำหนดค่าให้เก็บลง Field

21. การใช้ Tab Control และการกำหนดคุณสมบัติต่าง ๆ ของ Tab

  •  การใช้ Tab Control
  •  การเพิ่ม Page ใน Tab Control และการลบออก
  •  การปรับรูปแบบ Tab
  •  การแทรก Control เข้าไปใน Tab Page แต่ละตัว

22. การสรุปข้อมูล เพื่อสร้างกราฟ โดยใช้ CrossTab Query

  •  สร้าง CrossTab Query เพื่อสร้างกราฟ
  •  เลือก Control ที่ชื่อ UnBound Object Frame แล้วเลือก Microsoft Graph Chart

23. การแก้ปัญหากราฟที่ดึงข้อมูลมาให้ไม่ครบ ขาดไป 1 แถว. - การแก้ปัญหากราฟที่ดึงข้อมูลมาให้ไม่ครบ ขาดไป 1 แถว
24. การตกแต่งกราฟ และการเลือกประเภทของกราฟ

  •  การตกแต่งกราฟ
  •  การเลือกประเภทของกราฟ
  •  การกำหนดคุณสมบัติบน ToolBar ของ Chart
  •  การเข้าสู่โหมดการแก้ไขของกราฟ

25. การสร้าง Form SwitchBoard เพื่อให้สามารถ Click ไปฟอร์มต่าง ๆ ได้

  •  การสร้าง SwitchBoard Form เพื่อให้สามารถ Click ไปที่ Form อื่น ๆ ได้
  •  การแก้ไข SwitchBoard
  •  การสร้างรายการต่าง ๆ ใน SwitchBoard

26. การกำหนด Startup เพื่อให้เปิดฟอร์มที่ต้องการ เมื่อมีการเปิดฐานข้อมูล Access

  •  การกำหนดรูปแบบ Startup ว่าจะให้เริ่มจาก Form ใด
  •  การกำหนด Application Title และอื่น ๆ ใน Option ของ Startup

Write Your Own Review

You're reviewing: Access 2003-2007 QuickStart Tutorials ชุดที่ 1

How do you rate this product? *

  1 2 3 4 5
Quality
Price
Content
Shipping
Service

You may also be interested in the following product(s)

expand_less

Please wait...

{{var product.name}}
ได้ถูกเพิ่มเข้าไปยังตะกร้าสินค้าของคุณแล้ว



Continue shopping
View cart & checkout

นำ "{{var product.name}}" ออกจากตะกร้าสินค้าของคุณแล้ว